ARM

ARM สถาปัตยกรรม อาจจะเข้ามาแทน X86 หรือไม่

ARM หรือ Acorn RISC Machine ถือกำเนิดขึ้นในปี 1980

ด้วยการพัฒนา ARM ของบริษัท Acorn Computers ผู้พัฒนาคอมพิวเตอร์สัญชาติอังกฤษโดยออกแบบชิปเซทของสถาปัตยกรรมนี้เป็นแบบ พื้นฐานชิป 6502B เพื่อเป็นไมโครชิปของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และได้ถูกนำมาใช้ในครั้งแรกในเครื่องคอมฯ ของบริษัทชื่อรุ่นว่า Acorn Business Computer หรือเครื่อง ABC ที่ต้องการนำมาสู้กับคอมพิวเตอร์ของ IBM ณ ขณะนั้น ต่อมาทำให้ Acorn Computers เริ่มมีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับในฐานะผู้ผลิดและพัฒนาไมโครชิปสำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ในวงการคอมพิวเตอร์เลย และยังได้เริ่มทำสัญญากับบริษัท Apple, Digital Semiconductors และ Oracle เพื่อให้สามารถนำเอาสถาปัตยกรรมแบบ ARMไปใช้บนผลิภัณฑ์ของตนได้ และทำการขายลิขสิทธ์ในการนำไปออกแบบต่อยอดเป็นชิปเซ็ตของตัวเองสำหรับผู้ซื้อมาจนถึงปัจจุบัน

โดยจุดสำคัญของสถาปัตยกรรม ARMนี้อยู่ที่การออกแบบตามหลัก RISC หรือ (reduce instruction set computing – การลดจำนวนชุดคำสั่งการคำนวณ) เป็นการออกแบบมาเพื่อใช้ในอุปรณ์ทุกชนิด และช่วยให้เครื่องเน้นการประหยัดการใช้พลังงาน ตัวลักษณะของชิปเซทจึงมีเอกลักษณ์ที่เด่นด้วยการใช้ทรานซิสเตอร์ที่น้อยขนาดของซิลิกอนที่เล็กและใช้การทำวงจรอย่างง่าย เพราะต้องการทำให้ใช้พลังงานน้อยลงนั่นเองเพราะคุณสมบัติที่เล็กและไม่ใช้พลังงานเยอะจึงเป็นส่วนสำคัญในการใช้ตัวมันในอุปกรณ์แบบพกพาดีกว่าใช้ในคอมพิวเตอร์โดย จะเน้นไปที่ แลปท๊อป แท๊ปเลต สมาร์ทโฟน หรือแม้กระทั่งเครื่องเล่นเกมแบบพกพา แต่ด้วยการลดคำสั่งของสถาปัตยกรรม ARMนี้จึงทำให้การนำเอาโปรแกรมที่ใช้งานบน X86 มารันบนARMไม่ได้เพราะขนาดของชุดคำสั่งต่างกันเกินไป แต้การที่รันบนอุปกรณ์พกพาจะเหมาะสมที่สุดเพราะเป็นชิปที่ไม่กินทรัพยากรทำให้กินพลังงานของแบทเตอรี่น้อยลง

อุปกรณ์ IT

โดยส่วนใหญ่เราจะเห็นอยู่บนอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ

อาจจะออกแบบโดยบริษัทที่แตกต่างกัน แต่ออกแบบบนสถาปัตยกรรมเดียวกันซึ่งที่เราน่าจะคุ้นชิน และติดหูมากที่สุดก็คือ Qualcomm Snapdragonบนสมาร์ตโฟนนี่แหละก็ใช้สถาปัตยกรรมARMเช่นเดียวกันแต่หลังๆตลาดของชิปเซ็ตAMRมันเริ่มมีความสนใจมาจากSnapdragonรุ่น821 Quad Core ที่เริ่มใช้สถาปัตยกรรมแบบ64-bit ARMที่ให้ประสิทธิภาพ และความเร็วที่มากกว่าแบบเดิมที่เป็น32-bitอย่างมาก

หลังจากนั้นตลาดของชิปเซ็ตแบบ ARMก็ยิ่งน่าสนใจขึ้นไปอีกตอน Snapdragon 835ซึ่งเป็นชิปเซ็ตแบบ ARMตัวแรกที่มีสเปกถึง 8 Core หรือ Octa-Core ทำให้ยิ่งมีกำลังในการประมวลผลที่มากขึ้นความเร็วที่มากขึ้นทำให้ Qualcomm โด่งดังในตลาดของ ARMในสมาร์ตโฟนไปโดยปริยายแต่ชิปประมวลผลแบบARMก็ไม่ได้โด่งดังแค่ในอุตสาหกรรมสมาร์ตโฟนนะ เพราะเริ่มมีโน้ตบุ๊กที่หันมาใช้ARMเหมือนกันด้วยความที่มันกินไฟน้อยกว่าอย่างMicrosoftSurfaceProXแต่ให้ประสิทธิภาพการประมวลผลพอ ๆ กับชิประดับเดสก์ทอปบางตัว แต่ก็เจาะขายได้แค่ตลาดระดับผู้ใช้งานทั่วไปนั่นแหละ เพราะความจำกัดทางด้านโปรแกรม แต่ด้วยความที่ชิป ARMมันสามารถฝังโมเด็มเครือข่ายลงไปได้ เลยพอจะเอามาสู้อยู่ได้บ้าง

RISC ยังมีข้อดีของสิ่งที่เรียกว่าOut-of-OrderExecutionหรือOoOEโดยพื้นฐานแล้วซีพียูมีหน่วยที่จัดเรียงใหม่และปรับคำสั่งที่เข้ามาให้เหมาะสมตัวอย่างเช่นหากแอปพลิเคชันต้องการคำนวณสองสิ่ง แต่ไม่ได้พึ่งพาซึ่งกันและกันCPUสามารถทำงานทั้งสองอย่างพร้อมกันได้ โดยปกติแล้วโค้ดคู่ขนานจะซับซ้อนมากสำหรับนักพัฒนาในการเขียน แต่ในระดับต่ำสุดของCPUก็สามารถใช้การทำงานหลายอย่างเพื่อเร่งความเร็วได้ชิปAppleM1ใช้OoOEประสบความสำเร็จอย่างมาก

นี่ไม่ได้หมายความว่าx86จะหมดลงในเร็วๆนี้แต่เป็นที่ชัดเจนว่าARMมีศักยภาพมากกว่าแค่การเป็นสถาปัตยกรรมมือถือซึ่งเป็นตราบาปที่ใช้ไม่ได้อีกต่อไปตามทิศทางปัจจุบันของอุตสาหกรรมประโยชน์ของสถาปัตยกรรมRISCนั้นชัดเจนและด้วยความที่ชิปAppleM1ได้รับการปรับปรุงไปมากแล้วอนาคตของอุตสาหกรรมจึงดูสดใสนอกจากนี้ARMยังไม่ใช่สถาปัตยกรรมRISCเพียงแห่งเดียวยังคงเป็นของเจ้าของแม้ว่าARMจะอนุญาตการออกแบบให้กับนักออกแบบบุคคลที่สามเช่น Qualcomm,SamsungและAppleRISC-Vเป็นโอเพ่นซอร์สและมีแนวโน้มสูงมากเป็นสถาปัตยกรรมชุดคำสั่งที่เป็นมาตรฐานโดยปล่อยให้ผู้ผลิตใช้งานได้อย่างถูกต้อง ในขณะที่อุตสาหกรรมโดยทั่วไปก้าวไปสู่ ​RISCจะมีการใช้งานโอเพ่นซอร์สและโอเพ่นซอร์ส

อ้างอิงจากเว็บไซต์ www.beartai.com/article/

ดูสินค้าไอที่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ให้บริการครบวงจรสอบถามสินค้า/ขอใบเสนอราคาได้ที่ 053-227500

ติดตาม FB: A&A Neo Technology

line@ : @AANEO